01

1

ปลากระดี่หม้อ ปลาสลาก ปลาสลาง

ปลากระดี่หม้อ ปลาสลาก ปลาสลาง เป็น ปลาน้ำจืด อีกสายพันธ์ ของเมืองไทย ซึ่งตอนนี้ จากการสำรวจ พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามห้วย หนอง คลอง บึง ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงน้อยกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจาก หลายอย่าง เช่น การเพิ่มจำนวนของโรงงาน ทำให้ จำนวนของเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำ ธรรมชาติ ปรมาณเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา มีผลให้ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลากระดี่หม้อ ปลาสลาก ปลาสลาง

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลากระดี่หม้อ ปลาสลาก ปลาสลาง
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดซึ่งมีปริมาณชุกชุมกว่าปลาชนิดอื่นในจำพวกเดียวกัน จัดเป็นปลาขนาดเล็กที่มีสีและรูปร่างสวยงามกว่าปลากระดี่ชนิดอื่น ทางภาคเหนือเรียกชื่อเป็นปลาสลาง แต่แถบแม่กลาง แม่สะเรียง เรียกเป็น ปลาสลาก ลำตัวเป็นสีขาวเงินเทาอมฟ้า มีริ้วดำพาดขวางเป็นทางประตลอดลำตัว ลักษณะพิเศษคือมีจุดดำที่กลางลำตัวและตรงบริเวณคอดหางแห่งละจุด ถิ่นอาศัย อยู่ตามลำธาร คลองหนองบึงและบ่อที่มีวัชพืชปกคลุม เพื่อใช้เป็นแหล่งอาศัยขยายพันธุ์และหลบหลีกจากศัตรู อาหาร กินตะไคร้น้ำแมลงและสิ่งมีชิวิตเล็กๆ ขนาด ความยาวประมาณ 6 ซม. ประโยชน์ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และใช้เป็นอาหารทั้งสดและแปรรูป เช่น นำมาเรียงเป็นวงตากแห้ง เรียกว่า “ กระดี่รำวง ” และหมักเกลือเป็นปลาร้า

ปลากระดี่หม้อ ปลาสลาก ปลาสลาง มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
THREE – SPOT GOURAMI Trichogaster trichopterus

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาสังกะวาดเหลือง




ปลาสังกะวาดเหลือง เป็น ปลาน้ำจืด อีกชนีิดนึง ของประเทศไทย ซึ่งตอนนี้ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำสาธารณะ ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจาก หลายสาเหตุ เช่น จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ทำให้ ปริมาณน้ำเน่าเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำธรรมชาติ มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ทำให้ แหล่งน้ำสาธารณะ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาสังกะวาดเหลือง

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาสังกะวาดเหลือง
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มประมาณกลุ่มละสิบตัว รูปร่างคล้ายปลาสวาย แต่มีขนาดเล็ก ลำตัวยาวเรียวและมีหนวดยาว โดยเฉพาะหนวดคู่ที่มุมปากปลายหนวดยาวเลยฐานครีบท้อง ชอบหากินอยู่ตามผิวน้ำ ลำตัวยาวเรียวว่ายน้ำได้รวดเร็วและปราดเปรียว ลำตัวมีสีขาว ด้านสันหลังเป็นสีเทาคล้ำ ครีบหางมีแถบสีดำ ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะภายนอกเหมือนกัน ถิ่นอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหลเป็นส่วนใหญ่จะพบเห็นได้บ้างตามหนองและบึง แต่มีจำนวนไม่มากนัก มีชุกชุมในภาคกลาง บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา อาหารกินซากของพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อย รวมทั้งผลไม้สุกงอมที่เน่าเปื่อย ขนาดความยาวประมาณ 20-26 ซ.ม. ประโยชน์ปรุงเป็นอาหารได้หลายชนิด

ปลาสังกะวาดเหลือง มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
SIAMENSIS PANGASIUS Pangasius macronema

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาทรงเครื่อง ปลาหางแดง ปลาฉลามน้ำจืด

ปลาทรงเครื่อง ปลาหางแดง ปลาฉลามน้ำจืด เป็น ปลาน้ำจืด อีกสายพันธ์ ของเมืองไทย ที่ในเวลานี้ จากการเก็บข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำ ธรรมชาติ ต่างๆ ได้ลดลงจาก ในอดีต เป็นอย่างมาก เนื่องด้วยสาเหตุ หลายสาเหตุ เช่น การเพิ่มขึ้นของประชากรในประเทศไทย ทำให้ ปริมาณน้ำเน่าเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำธรรมชาติ ปรมาณเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ทำให้ แหล่งน้ำสาธารณะ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาทรงเครื่อง ปลาหางแดง ปลาฉลามน้ำจืด

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาทรงเครื่อง ปลาหางแดง ปลาฉลามน้ำจืด
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์เดียวกับปลาตะเพียนรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ นัยน์ตาค่อนข้างโต ปากเล็กอยู่คล้อยไปทางส่วนท้อง มีอวัยวะสำหรับดูดหรือเกาะอยู่ที่ริมฝีปาก มีหนวดสั้น ๆ 2 คู่ ครีบหลังสูงและมีขนาดใหญ่สะดุดตา สีของลำตัวเป็นสีดำหรือน้ำเงินปนดำ มีจุดสีดำที่ข้างตัวอยู่เหนือครีบหูข้างละจุด ครีบหางมีขนาดใหญ่และเว้าลึกเป็นแฉกสีแดงปนส้มเช่นเดียวกับครีบหู ปลายขอบครีบหลังเป็นสีขาว ครีบอื่น ๆ สีเทาจาง ปลาทรงเครื่องเป็นปลาที่ปราดเปรียวและว่องไว นักเลี้ยงปลาขนานนามว่า “ฉลามน้ำจืด” ถิ่นอาศัย พบชุกชุมในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยา จากอยุธยาถึงปากน้ำ ในบึงบอระเพ็ดและแม่น้ำแม่กลองที่ราชบุรี กาญจนบุรี ชาวบ้านเรียก ปลากาสี อาหาร กินแมลง ลูกน้ำ ไรน้ำ ซากสัตว์และพืชที่เน่าเปื่อย ขนาด ความยาวประมาณ 7-12 ซ.ม. ประโยชน์ เป็นปลาสวยงามที่นิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย เป็นหนึ่งในสิบของปลาสวยงามน้ำจืดที่มีความสวยงามมากที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง

ปลาทรงเครื่อง ปลาหางแดง ปลาฉลามน้ำจืด มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
RED-TAILED BLACK SHARK Epalzeorhynchos bicolor

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาจิ้มฟันจระเข้




ปลาจิ้มฟันจระเข้ เป็น ปลาน้ำจืด อีกชนีิดนึง ของบ้านเรา ที่ในเวลานี้ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำ ธรรมชาติ ต่างๆ ได้ลดลงจาก ในอดีต เป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจาก หลายประการ เช่น การขยายพื้นที่ของโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ ของเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำสาธารณะ มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา มีผลให้ แหล่งน้ำสาธารณะ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาจิ้มฟันจระเข้

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาจิ้มฟันจระเข้
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ลำตัวเรียวและมีสัณฐานเป็นเหลี่ยม เกล็ดของปลาชนิดนี้ได้เปลี่ยนรูปกลายเป็นแผ่นกระดูกแข็ง เป็นข้อ ๆ รอบตัวจะงอยปากยื่นแหลมมีลักษณะเป็นหลอด ปลายปากมีลักษณะคล้ายปากแตร ไม่มีฟัน ใช้ปากดูดอาหาร เพศผู้จะมีถุงฟักไข่อยู่ที่หน้าท้องเป็นร่องลึก ขอบของถุงฟักไข่มีส่วนของแผ่นเกล็ดแผ่ยื่นออกมาคลุมไว้ ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันอันตรายจากวัตถุภายนอกที่จะมากระทบไข่ ถิ่นอาศัย อยู่ตามผิวน้ำ ในแม่น้ำลำคลองและหนองบึง ที่มีทางน้ำติดต่อกับแม่น้ำ พบในแม่น้ำบางปะกง แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีนและแม่น้ำแม่กลอง ทางภาคใต้พบในทะเลน้อย อาหาร กินแมลงและตัวอ่อนที่อาศัยอยู่ตามผิวน้ำ ขนาด ความยาวประมาณ 16-47 ซ.ม. ประโยชน์ เลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เนื้อไม่ใช้บริโภค

ปลาจิ้มฟันจระเข้ มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า COMMON FRESHWATER-PIPEFISH Microphis boaja

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี

ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี : เป็น ปลาอีกชนิดนึง ของไทย ที่ เกือบทุกคน คงคุ้นชื่อ กับ ปลาชนิดนี้ กันเป็นอย่างดี ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี นั้น จัดได้ว่าเป็น ตัวชี้วัด ที่ใช้วัด ความอุดมสมบูรณ์ ของสภาพแวดล้อม ทางทะเลได้เป็นอย่างดี ทะเลในบริเวณใด ที่มี ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี อาศัยอยู่นั้น แสดงว่าทะเล บริเวณนั้น สภาพยังสมบูรณ์ แต่ช่างน่าเสียดายเหลือเกิน ที่ในเวลานี้ จากข้อมูลการศึกษาวิจัย ข้อมูล ปลาทะเล ของไทย พบว่า ปริมาณ ของ ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี มีการลดลง จนน่าวิตก สาเหตุสำคัญ ที่ส่งผลต่อ การลดจำนวน ลงของปลาชนิดนี้ คือ การขยายตัวของแหล่งที่อยู่อาศัย ชุมชน ซึ่งนำมาซึ่ง การปล่อยของเสียปริมาณมากมาณ ลงสู่ทะเลในแต่ละปี

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาทะเลซึ่งอาศัยอยู่บริเวณหน้าดินที่เรียกว่าปลาหน้าดิน ลำตัวค่อนข้างกลมหนวดแพะ ชาวบ้านจึงเรียกว่า ปลาหนวดแพะ เกล็ดมีขนาดใหญ่ ครีบหางเว้าลึก ลำตัวมีสีชมพูแก่และสีจะจางลงในบริเวณท้อง มีเส้นสีน้ำเงิน 4 เส้น อยู่บริเวณหัว ถิ่นอาศัย หากินอยู่ตามกองหิน และบริเวณหน้าดินที่เป็นพิ้นทราย พบทั่วไปในอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน อาหาร กินปลา และสัตว์น้ำขนาดเล็ก ขนาด ความยาวประมาณ 12 – 15 ซม. ประโยชน์ เนื้อปลาใช้ปรุงอาหาร

ปลาแพะทองเหลือง ปลาหนวดฤาษี ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Spotted Golden Goatfish Parupeneus Cinnabarinus

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo