01

1

ปลาช่อนงูเห่า



ปลาช่อนงูเห่า เป็น ปลาน้ำจืด อีก หนึ่งชนิด ของเมืองไทย ซึ่ง ปัจจุบันนี้ จากการเก็บข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำ ตามธรรมชาติ ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงน้อยกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก เพราะผลของเหตุ หลักๆ หลายสาเหตุ เช่น การเพิ่มขึ้นของประชากรในประเทศไทย ทำให้ จำนวนของเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำธรรมชาติ มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ทำให้ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาช่อนงูเห่า

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาช่อนงูเห่า
ลักษณะทั่วไป ลำตัวเรียวยาวรูปทรงกระบอกคล้ายปลาช่อน แต่มีหัวเล็กและแบนกว่า บริเวณหลังมีสีเขียวปนน้ำตาลเกล็ดมีสีดำขอบขาวสลับบนและล่างของเส้นข้างลำ ตัว บริเวณโคนครีบหางมีจุดเป็นสีดำขอบขาวขนาดใหญ่ คำร่ำลือที่ว่าปลาช่อนงูเห่า เป็นปลาซึ่งมีพิษร้ายแรง หากกัดผู้ใดก็จะได้รับอันตรายถึงแก่ชีวิตได้นั้น ไม่เป็นความจริงแต่ประการใด หากนำมาขังร่วมกับปลาช่อน จะถูกปลาช่อนไล่กัดจนตาย ถิ่นอาศัย ในแหล่งน้ำไหล เช่น แม่น้ำ ลำคลองซึ่งมีพื้นเป็นกรวดและหิน ในแถบภาคกลางพบที่จังหวัดกาญจนบุรี เรียกว่า อ้ายล่อน ทางภาคเหนือพบที่จังหวัดตาก และในลุ่มน้ำปิง ผู้คนในแถบนั้นเรียกว่าปลาช่อนดอกจันทร์ อาหาร กินปลา ลูกกุ้งและสัตว์น้ำ ขนาด ความยาวประมาณ 30-120 ซ.ม. ประโยชน์ เนื้อใช้ปรุงเป็นอาหารมีรสชาติดี คล้ายเนื้อปลาช่อน

ปลาช่อนงูเห่า มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า GREAT SNAKE-HEAD FISH Channa marulius

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาตะคองเหลือง


ปลาตะคองเหลือง : เป็น ปลาทะเล ของไทย ที่ หลายๆ คน คงคุ้นชื่อ กับ ปลาชนิดนี้ กันเป็นอย่างดี ปลาตะคองเหลือง นั้น จัดเป็น ตัวบ่งบอก ที่ใช้วัด ความอุดมสมบูรณ์ ของสภาพแวดล้อม ทางทะเลได้เป็นอย่างดี ทะเล ที่มี ปลาตะคองเหลือง อาศัยอยู่นั้น แสดงว่าสภาพแวดล้อมทางทะเล บริเวณนั้น มีความสมบูรณ์ แต่ช่างน่าเสียดายเหลือเกิน ที่ในปัจจุบันนี้ จากข้อมูลการศึกษาวิจัย ข้อมูล ปลาทะเล ของไทย พบว่า ปริมาณ ของ ปลาตะคองเหลือง มีปริมาณที่ลดลง จนน่าวิตก สาเหตุสำคัญ ที่ส่งผลต่อ จำนวนที่ลดลง ลงของปลาชนิดนี้ คือ การขยายตัวของธุรกิจ ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่งนำมาซึ่ง การปล่อยของเสียปริมาณมากมาณ ลงสู่ทะเลในแต่ละปี

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาตะคองเหลือง
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาหางแข็งประเภทหนึ่ง ชอบอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ลักษณะลำตัวค่อนข้างไปทางยาวแบนคล้ายรูปขนมเปียกปูนจะงอยปากมน ปากกว้าง ไม่มีฟัน เกล็ดเล็ก บริเวณใต้ครีบอกไม่มีเกล็ด หางยาวใหญ่เว้าลึก ครีบหูยาวและโค้งเป็นรูปเดียว ลำตัวโดยทั่วไปเป็นสีเหลือง และจะค่อยๆจางเป็นสีขาวที่บริเวณส่วนท้อง มีแถบสีดำพาดกลางลำตัว ถิ่นอาศัย พบอยู่ตามหน้าดินและบริเวณกองหินใต้น้ำหรือตามพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลน โคลนปนทรายและหินทั้งในอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามัน อาหาร กินปลาและสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน ขนาด ความยาวประมาณ 90 – 120 ซม. ประโยชน์ เนื้อปลาใช้ปรุงอาหารได้

ปลาตะคองเหลือง ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Golden Toothless Trevally Gnathanodon Speciosus

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลากุเราสี่เส้น



ปลากุเราสี่เส้น : เป็น ปลาทะเล ของไทย ที่ ทุกคน คงคุ้นชื่อ กับ ปลาชนิดนี้ กันเป็นอย่างดี ปลากุเราสี่เส้น นั้น จัดเป็น ตัวบ่งบอก ที่ใช้วัด ความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศน์ ทางทะเลได้เป็นอย่างดี ทะเล ที่มี ปลากุเราสี่เส้น อาศัยอยู่นั้น แสดงว่าสภาพแวดล้อมทางทะเล บริเวณนั้น มีความสมบูรณ์ แต่ช่างน่าเสียดายเหลือเกิน ที่ในปัจจุบันนี้ จากการสำรวจ ข้อมูล พื้นที่ทางทะเล ของประเทศไทย พบว่า ปริมาณ ของ ปลากุเราสี่เส้น มีปริมาณที่ลดลง จนน่าวิตก สาเหตุสำคัญ ที่ส่งผลต่อ การลดจำนวน ลงของปลาชนิดนี้ คือ สภาพน้ำทะเลที่เน่าเสีย ซึ่งนำมาซึ่ง การปล่อยของเสียปริมาณมากมาณ ลงสู่ทะเลในแต่ละปี

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลากุเราสี่เส้น
ลักษณะทั่วไป รูปร่างยาวเรียว ลำตัวค่อนข้างหนา แบนข้าง หัวค่อนข้างเล็ก จะงอยปากสั้น ตามีเยื่อไขมันปกคลุมและอยู่ใกล้ปลายจะงอย ปากเฉียงขึ้นเล็กน้อย และมีฟันแหลมคม ลักษณะเด่นคือ ก้านครีบส่วนล่างของครีบหูแยกออกเป็นเส้นรยางค์ 4 เส้น ซึ่งชาวบานเรียกกันว่าหนวด มีครีบหลังแยกห่างกัน 2 อัน ครีบหางเป็นแฉกลึก ส่วนของลำตัวที่อยู่แนวสันหลังสีเทาปนเขียว ส่วนที่อยู่ถัดลงมาสีเนื้อและสีขาวเงิน ครีบหลังและครีบหางมีรอยแต้มสีเทาที่ปลาย ครีบอื่น ๆ สีเหลือง ถิ่นอาศัย หากินอยู่ตามหน้าดินที่เป็นดินโคลน บางครั้งเข้าอยู่ในน้ำกร่อย พบทั่วไปในอ่าวไทย อาหาร กินลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน ขนาด โดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 40 – 60 ซม. ขนาดใหญ่ที่สุดมีความยาวถึง 2 เมตร ประโยชน์ เนื้อรสชาติดีเลิศเมื่อนำมาทำปลาเค็ม

ปลากุเราสี่เส้น ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Fourfinger Threadfin Eleutheronema Tetradactylum

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลานิล



ปลานิล เป็น ปลาน้ำจืด ที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง ของบ้านเรา ซึ่งตอนนี้ จากการสำรวจ พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำสาธารณะ ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงน้อยกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก สาเหตุจาก หลายประการ เช่น การเพิ่มจำนวนของน้ำเสีย ทำให้ ของเสีย ที่ถูกปล่อยลง ห้วย หนอง คลอง บึง มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ส่งผลให้ แหล่งน้ำสาธารณะ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลานิล

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลานิล
ลักษณะทั่วไป มีรูปร่างลักษณะเหมือนกับปลาหมอเทศ ผิดกันตรงที่ปลานิลมีลายสีดำและจุดสีขาวสลับกัน ที่บริเวณครีบหลัง ครีบหางและครีบก้น ลำตัวสีเขียวปนน้ำตาลและมีลายดำจาง ๆ พาดขวางตามลำตัว ถิ่นอาศัย ปลานิลเข้าสู่ประเทศไทยครั้งแรก โดยเจ้าชายอากิฮิโต มกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่นจัดส่งเข้ามาถวายต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2508 จำนวน 50 ตัว ครั้งนั้นได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงในบ่อที่สวนจิตรลดา ปลานิลได้เจริญเติบโตและแพร่พันธ อาหาร กินได้ทุกชนิด เช่น ไรน้ำ ตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนของแมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ ขนาด ความยาวประมาณ 10-30 ซ.ม. ประโยชน์ แพร่ขยายพันธุ์ง่าย เนื้อมีรสดีเหมาะสำหรับนำมาประกอบอาหาร

ปลานิล มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า NILE TILAPIA Oreochromis niloticus

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ




ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ : เป็น ปลาน้ำเค็ม ของไทย ที่ เกือบทุกคน คงคุ้นชื่อ กับ ปลาชนิดนี้ กันเป็นอย่างดี ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ นั้น จัดเป็น ดัชนี ชี้วัด สามารถใช้ประเมิน ความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศน์ ทางทะเลได้เป็นอย่างดี ทะเลในบริเวณใด ที่มี ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ อาศัยอยู่นั้น แสดงว่าพื้นที่ บริเวณนั้น ยังมีความอุดมสมบูรณ์ที่เดียว แต่ช่างน่าเสียดายเหลือเกิน ที่ในปัจจุบันนี้ จากข้อมูลการศึกษาวิจัย ข้อมูล สัตว์น้ำทางทะเล ของไทย พบว่า จำนวน ของ ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ มีจำนวนที่ลดลง จนน่าตกใจ สาเหตุสำคัญ ที่ส่งผลต่อ การลดลง ลงของปลาชนิดนี้ คือ การเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ทางทะเล ซึ่งนำมาซึ่ง การปล่อยของเสียปริมาณมากมาณ ลงสู่ทะเลในแต่ละปี

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาผิวน้ำที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเช่นเดียวกับปลาโอทั่วๆไป ลำตัวค่อนข้างกลมและยาวเพรียวแบบกระสวย ครีบหลังที่แยกออกจากกันเป็นสองอันและอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อยเท่าขนาดความ ยาวของตา ครีบหูหลังยาวมาก ครีบท้องตั้งอยู่ในแนวเดียวกับครีบหู ครีบก้นอยู่เยื้องครีบหลังอันที่สองเล็กน้อย ครีบหางใหญ่เว้าลึกเป็นรูปวงเดือน มีเกล็กเล็กละเอียดอยู่บริเวณแนวท้อง มีจุดสีขาวเรียงกันเป็นแถวไปตามความยาวของส่วนท้อง ครีบฝอยของครีบหลังและครีบก้นมีสีเทาแกมเหลือง ถิ่นอาศัย มีแพร่กระจายอยู่ทั่วไปทั้งอ่าวไทยตั้งแต่จังหวัดชลบุรี สัตหีบไปจนถึงสงขลาและปัตตานี และทะเลอันดามัน อาหาร กินปลาผิวน้ำ กุ้งปลาหมึก ขนาด เป็นปลาโอขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 40 70 ซม. ประโยชน์ เนื้อใช้ปรุงอาหาร

ปลาโอดำ ปลาโอหม้อ ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Longtail – Tuna Thunnus Tonggol

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo