01

1

ปลากา ปลาเพี้ย




ปลากา ปลาเพี้ย เป็น ปลาน้ำจืด อีก หนึ่งชนิด ของเมืองไทย ที่ในเวลานี้ จากการสำรวจ พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามแหล่งน้ำ ตามธรรมชาติ ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก เพราะผลของเหตุ หลักๆ หลายประการ เช่น การเพิ่มจำนวนของน้ำเสีย ทำให้ จำนวนของเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำธรรมชาติ มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ทำให้ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลากา ปลาเพี้ย

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลากา ปลาเพี้ย
ลักษณะทั่วไป ลำตัวเรียวยาวด้านข้างแบนเล็กน้อย สันหลังโค้งสูง ส่วนท้องแบน ปากอยู่ในแนวเดียวกับสันท้อง ยืดหดได้ และมีลักษณะแบบปากดูด ริมฝีปากบนและล่างเป็นหยัก มีติ่งเนื้อเป็นฝอยสั้นๆ อยู่รวมกันเป็นกระจุก มีหนวด 2 คู่ ครีบหลังมีขนาดใหญ่และสูงมาก ครีบท้องยาวจดตอนต้นของครีบก้น ครีบหางเว้าลึก สีของลำตัวมีตั้งแต่ม่วงแก่ไปจนถึงดำเข้ม เกล็ดทุกเกล็ดมีจุดสีเหลืองจาง ๆ อยู่ตรงกลาง ครีบสีดำทั้งสิ้น ถิ่นอาศัย แหล่งน้ำที่มีระดับน้ำตื้น ๆ และมีพันธุ์ไม้น้ำ อาหาร กินตะไคร่น้ำ พืชน้ำขนาดเล็ก แพลงก์ตอน ซากพืชและตัวอ่อนแมลงน้ำ ขนาด ใหญ่ที่สุดมีความยาวถึง 48 ซ.ม. ประโยชน์ เป็นปลาสวยงามที่ส่งไปจำหน่ายยังต่างประเทศ นอกจากนี้ยังนิยมบริโภคกันมากในภาคอีสาน

ปลากา ปลาเพี้ย มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า GREATER BLACK SHARK Morulius chrysophekadion

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลากาแดง ปลาสร้อยหลอด




ปลากาแดง ปลาสร้อยหลอด เป็น ปลาน้ำจืด อีกชนีิดนึง ของเมืองไทย ที่ในเวลานี้ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามห้วย หนอง คลอง บึง ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก เพราะผลของเหตุ หลักๆ หลายอย่าง เช่น จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ทำให้ จำวนน้ำเสีย ที่ถูกปล่อยลง ห้วย หนอง คลอง บึง ปรมาณเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ส่งผลให้ ห้วย หนอง คลอง บึง เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลากาแดง ปลาสร้อยหลอด

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลากาแดง ปลาสร้อยหลอด
ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาวเรียว ส่วนท้องแบน ปากอยู่ในระดับแนวเดียวกับสันท้อง มีหนวด 4 เส้น ครีบหลังมีขนาดใหญ่ครีบหางเว้าลึก สีของลำตัวจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย สีมีตั้งแต่น้ำตาลจาง น้ำตาลเข้มไปจนถึงสีน้ำเงินปนดำ บริเวณหัวมีแถบสีดำพาดจากปลายสุดของปากไปสุดที่ขอบกระดูกกระพุ้งแก้ม มีจุดสีดำกลมขนาดใหญ่ที่โคนหางข้างละจุด ครีบทุกครีบมีสีแดงปนส้ม ถิ่นอาศัย บริเวณลุ่มน้ำโขง แม่น้ำภาคกลาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหาร กินตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนแมลงขนาดเล็ก ซากพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อย ขนาด ความยาวประมาณ 10-11 ซ.ม. ประโยชน์ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และส่งไปจำหน่ายยังต่างประเทศด้วย

ปลากาแดง ปลาสร้อยหลอด มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
RED-FINNED BLACK SHARK Epallzeorhynchos frenatus

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาตะโกก ปลาโจก




ปลาตะโกก ปลาโจก เป็น ปลาน้ำจืด อีกชนีิดนึง ของบ้านเรา ซึ่งตอนนี้ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามห้วย หนอง คลอง บึง ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงน้อยกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก สาเหตุจาก หลายอย่าง เช่น จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ทำให้ ปริมาณน้ำเน่าเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำสาธารณะ ปรมาณเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา มีผลให้ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาตะโกก ปลาโจก

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาตะโกก ปลาโจก
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดประเภทมีเกล็ดอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียนรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวด้านข้างแบนหัวเล็กแหลม ปากเล็กและอยู่คล้อยมาใต้จะงอยปาก มีหนวด 2 คู่ หรือ 4 เส้น บริเวณแก้มมีตุ่มเม็ดเล็ก ๆ เรียงเป็นแถว แต่ละแถวขนานกันดูเหมือนเส้นขนาน ตุ่มเหล่านี้เป็นอวัยวะรับความรู้สึก เกล็ดมีขนาดค่อนข้างใหญ่ เส้นข้างตัวสมบูรณ์ ปลายของท่อเส้นข้างตัวแยกออกเป็นสองแฉกหรือสามแฉก ครีบหางแยกเป็นสองแฉกเว้าลึก ลำตัวสีขาวเงินแกมสีน้ำเงิน ครีบต่าง ๆ สีเทาจาง ถิ่นอาศัย ในบริเวณที่ลุ่มภาคกลาง แม่น้ำเจ้าพระยา พบตั้งแต่กรุงเทพฯ เรื่อยขึ้นไปถึงปากน้ำโพมีชุกชุมในบึงบอระเพ็ด แม่น้ำแม่กลองแถบจังหวัดกาญจนบุรี เขื่อนวชิราลงกรณ์ ทางภาคอีสานเรียกว่าปลาโจก จับได้มากในแม่น้ำโขงที่หนองคาย นครพนมและอุบลราชธานี อาหาร หากินตามพื้นดิน กินพวกตัวอ่อนของหนอนและหอยน้ำจืด ขนาด พบทั่วไปยาว 30-40 ซ.ม. แต่ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมีความยาวถึง 80 ซ.ม. ประโยชน์ เนื้อมีรสดี ราคาแพง นิยมนำมาทำเป็นอาหารประเภทต้มยำ

ปลาตะโกก ปลาโจก มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
SOLDIER RIVER BARB Cyclocheilichthys enoplos

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo

ปลาชะโด ปลาแมลงภู่ ปลาอ้ายป๊อก




ปลาชะโด ปลาแมลงภู่ ปลาอ้ายป๊อก เป็น ปลาน้ำจืด อีกสายพันธ์ ของเมืองไทย ซึ่งตอนนี้ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า จำนวน ประชากร ของปลาชนิดนี้ ตามห้วย หนอง คลอง บึง ต่างๆ ได้ลดจำนวนลงน้อยกว่า ในอดีต เป็นอย่างมาก สาเหตุจาก หลายสาเหตุ เช่น จำนวนโรงงานอุสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ทำให้ จำวนน้ำเสีย ที่ถูกปล่อยลง แหล่งน้ำสาธารณะ มี{จำนวนเพิ่มตามไปด้วย จากสาเหตุ ที่กล่าวมา ทำให้ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ เกิดการเน่าเสีย ส่งผลกระทบโดยตรง ต่อ ปลาชะโด ปลาแมลงภู่ ปลาอ้ายป๊อก

ข้อมูล ทั่วๆ ไป ของ ปลาชะโด ปลาแมลงภู่ ปลาอ้ายป๊อก
ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดที่ค่อนข้างดุ ลำตัวเรียวยาวเป็นรูปทรงกระบอก ลักษณะครีบต่าง ๆ คล้ายกับปลาช่อน แต่เมื่อเติบโตเต็มวัยมีขนาดใหญ่กว่า ขณะยังเป็นปลาเล็กลำตัวจะมีแถบสีเหลืองอมส้มสดใส และมีแถบสีแดงหรือส้มปรากฎให้เห็น 1 แถบ พาดตามความยาวลำตัว เมื่อหลาชะโดมีอายุมากขึ้นลายสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลปนดำพร้อมทั้งมี แถบสีดำ 2 แถบ เมื่อปลาความยาวลำตัว 40-50 ซ.ม. แล้วแถบสีและลายต่าง ๆ ลบเลือนไป สีลำตัวของปลาก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้มเหลือบเขียวตลอดตัว ถิ่นอาศัย ในแม่น้ำ และอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย อาหาร กินสัตว์น้ำต่าง ๆ ขนาด ความยาวประมาณ 30-50 ซ.ม. ประโยชน์ ปลาเศรษฐกิจสำคัญ เมื่อปลามีขนาดเล็กใช้เลี้ยงเป็นปลาสวยงามโดยมีชื่อเรียกว่า “ปลาตอร์ปิโด” ส่วนปลาที่มีขนาดใหญ่ใช้บริโภคมีรสชาติดีเยี่ยม

ปลาชะโด ปลาแมลงภู่ ปลาอ้ายป๊อก มี ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
GIANT SNAKE-HEAS FISH Channa micropeltes

ที่มา : thaifishs
Stumble This Fav This With Technorati Add To Del.icio.us Digg This Add To Reddit Add To Facebook Add To Yahoo Add To Yahoo